HomeEconomics

Economics

อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (RRR)

อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (RRR) หมายถึง อัตราส่วนเงินฝากขั้นต่ำที่ธนาคารพาณิชย์ต้องเก็บไว้เป็นเงินสำรอง (Reserve) ซึ่งจะถูกกำหนดโดยธนาคารกลางของแต่ละประเทศ

Top Down & Bottom Up

การวิเคราะห์ในลักษณะ Top Down & Bottom Up ยังช่วยให้ผู้วิเคราะห์มีความเข้าใจสภาพการณ์ทั่วโลก เนื่องจากจะต้องศึกษาทั้งปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง หรือความเสี่ยงต่างๆก็เป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้ามในการวิเคราะห์

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดผูกขาด

เมื่อมีตลาดย่อมมีการซื้อขาย ซึ่งมักจะซื้อขายกันด้วยราคากลางในตลาด (Market price) ราคากลางนี้อาจเรียกว่าเป็น จุดดุลยภาพของราคา (Equilibrium price) ซึ่งจะถูกกำหนดจากทั้งผู้ซื้อ (Buyer) และผู้ขาย (Seller)

ต้นทุนจม (Sunk Cost)

ต้นทุนจม (Sunk Cost) หมายถึง ต้นทุนที่จ่ายไปก่อนหน้าและไม่สามารถนำกลับคืนได้ โดยที่ต้นทุนจมนั้นอาจไม่ได้หมายถึงตัวเงินเสมอไป อาจจะเป็นต้นทุนทางด้านเวลาก็ได้เช่นกัน

ต้นทุนค่าเสียโอกาส

ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) หมายถึง มูลค่าที่สูญเสีย โอกาส รวมทั้ง ผลประโยชน์ ในการเลือกทำกิจกรรมอย่างหนึ่ง โดยต้นทุนค่าเสียโอกาสจะคิดจากการมูลค่าสูงสุดในกิจกรรมที่ไม่ได้เลือกในขณะนั้น

ความเสี่ยงในการลงทุน

 ความเสี่ยงในการลงทุน (Investment Risk) เป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ในการลงทุน เมื่อต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ก็ต้องชดเชยด้วยการรับความเสี่ยงที่มากขึ้นเช่นกัน (High Risk High Expected Return)

วิกฤตเศรษฐกิจโลก

เมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ย่อมส่งผลกระทบในวงกว้างต่อประชากรในสังคม ยิ่งเศรษฐกิจมีขนาดใหญ่ขึ้นเท่าไหร่ ปัญหาก็ยิ่งเยอะขึ้นเท่านั้น ซึ่งผลกระทบที่แต่ละคนนั้นได้รับนั้น จะแตกต่างกันตามระดับการพึ่งพาเศรษฐกิจและสังคม

แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์

แม้ไม่มีหลักฐานชี้ชัดแต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเศรษฐศาสตร์นั้น อยู่คู่กับวิถีชีวิตมุนษย์มาตั้งแต่แรก ที่เริ่มอยู่กันเป็นสังคม ผ่านการแบ่งงานกันทำตามความถนัด และการแลกเปลี่ยนสิ่งของ

อุปสงค์ อุปทาน และ จุดดุลยภาพ

ราคาและความต้องการของสินค้าหรือบริการทุกอย่าง ล้วนเกิดจากปัจจัยทางด้าน อุปสงค์ และอุปทาน ของสิ่งนั้นๆทั้งสิ้น โดยที่ราคากลางในตลาดจะเป็นตัวแสดงถึง จุดดุลยภาพ ของสินค้าหรือบริการนั้นๆ

ประกาศตัวเลขเศรษฐกิจ กับระยะส่งผล

นอกจาก GDP GNP NNP NI PI DPI ที่ได้เสนอไปแล้ว ยังมีตัวเลขทางเศรษฐกิจอื่นๆอีกหลายตัวที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจในด้านต่างๆ เมื่อประกาศออกมาก็จะส่งผลในทันที
Nuwee Luxsanakulton
เป้าหมายของเรา คือการช่วยนักลงทุนให้มีความเข้าใจ ทั้งในด้านปัจจัยพื้นฐาน รวมถึงปัจจัยทางเทคนิค จากประสบการณ์ของอดีตฝ่ายลงทุนต่างประเทศ ปัจจุบันเป็นนักวิเคราะห์แนวโน้มทองคำ (Gold Analyst)

Must Read

แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์

แม้ไม่มีหลักฐานชี้ชัดแต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเศรษฐศาสตร์นั้น อยู่คู่กับวิถีชีวิตมุนษย์มาตั้งแต่แรก ที่เริ่มอยู่กันเป็นสังคม ผ่านการแบ่งงานกันทำตามความถนัด และการแลกเปลี่ยนสิ่งของ

วัฏจักรเศรษฐกิจ

วัฏจักรเศรษฐกิจ (Economic Cycle) ประกอบด้วย 4 ช่วง คือ ช่วงตกต่ำ ช่วงฟื้นตัว ช่วงรุ่งเรือง และช่วงถดถอย ซึ่งในแต่ละช่วงจะมีสินทรัพย์ที่น่าลงทุนแตกต่างกันไป

การวิเคราะห์ทางเทคนิค

การวิเคราะห์ทางเทคนิคเกิดจากพฤติกรรมราคาที่เกิดขึ้นซ้ำๆ จนคาดการณ์ได้ว่า เมื่อเกิดเหตุการณ์ในลักษณะนี้ ก็มักจะมีเกิดผลแบบนั้นตามมา

ทองคำ (Gold)

ราคาทองคำมีความผันผวนเนื่องจากตอบรับแทบทุกปัจจัยที่เข้ามากระทบ โดยแต่ละปัจจัยจะส่งผลกระทบต่อราคาทองคำแตกต่างกัน

Forex

Spread Swap และ Commission

ต้นทุนในการเทรด Forex จะมีอยู่ 3 ส่วนคือ Spread, Swap และ Commission ซึ่งเป็นค่าบริการหรือค่าธรรมเนียมที่ทางโบรกเกอร์ Forex เรียกเก็บจากผู้ซื้อขาย Forex

Leverage คืออะไร ?

Leverage ถือเป็นปัจจัยหลัก ที่ทำให้การลงทุนในตลาด Forex มีความน่าสนใจ เนื่องจาก Leverage เป็นตัวกำหนดหลักประกัน (Margin) ที่ต้องวางในการซื้อขาย

Lot Size คืออะไร ?

การคำนวนขนาด Lot ในการซื้อขาย Forex จำเป็นต้องพิจาณาถึงปัจจัยหลายอย่าง แต่ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการเทรด Forex คงหนีไม่พ้นความสามารถในการรับความเสี่ยง